รับประกันด้วยงานวิจัยคลอโรฟิลล์อาหารอายุวัฒนะ

บทสรุปการคลอโรฟิลล์(Water Soluble Chlorophyll) ทางการแพทย์
จากประสบการณ์งานค้นคว้าวิจัยของแพทย์และนักวิทยาศาสตร์ทั่วโลก
การใช้คลอโรฟิลล์บำบัดผู้ป่วยหลายล้านคนทั่วโลก


                 คลอโรฟิลล์ที่ทางการแพทย์ยอมรับคือคลอโรฟิลล์ที่บริสุทธิ์และต้องมีสารคลอโรฟิลล์อย่างน้อย 95%โดยนักวิทยาศาสตร์ได้ทำการทดลองจนสรุปได้ว่ามีเพียงคลอโรฟิลล์ชนิดละลายน้ำ 100%ละลายด้วยตัวมันเองโดยไม่ต้องใช้สารละลายหรือน้ำมันอื่น ๆ ช่วย ด้วยกระบวนการผลิตอย่างน้อย 15ขั้นตอนในระดับนาโนเทคโนโลยี จึงทำให้คลอโรฟิลล์ของบ้านสมุนไพรสามารถละลายในน้ำได้ 100% ทางการแพทย์ได้ทำการวิจัยคลอโรฟิลล์ชนิดละลายน้ำกันอย่างกว้างขวางเป็นที่ยอมรับในวงการแพทย์ (Medicinal Use)โดยเฉพาะกลุ่มนักวิจัยส่วนใหญ่ของมหาวิทยาลัยเทมเปิล ประเทศสหรัฐอเมริกา นำทีมโดยนายแพทย์ลอเรนซ์  สมิท ซึ่งเป็นศาสตรจารย์สาขาพยาธิวิทยา ได้รวบรวมข้อมูลสำคัญของคลอโรฟิลล์ชนิดละลายน้ำได้ดังนี้
1. เป็นสารบริสุทธิ์ที่ควรเลือกใช้ในคลีนิก  (Water soluble derivatives are purified and much preferable in clinical use)
2.ผลของการใช้ละเอียดอ่อนและนุ่มนวล ไม่ละคายเคือง (Bland and non-irritating)
3.จากการทดลองในมนุษย์และสัตว์ในวิธีทางการแพทย์ รวมทั้งการฉีดเข้าใต้ผิวหนังและฉีดเข้าเส้นเลือดดำ ไม่ปรากฏอาการพิษแต่อย่างใด (Total absence of toxic effects)
              องค์การอาหารและยาสหรัฐอเมริกา ขึ้นทะเบียนเป็นยารักษาโรคตั้งแต่วันที่ 11 พฤษภาคม 1990 ตามทะเบียนยาที่ 21 CFR Part357 Deodorant Drug Products for Internal use for Over- the Counter Human use; Final Monograph; Final Rule.  (ในประเทศไทย อย. เลขที่ 21-4-00449-1-0001)


คลอโรฟิลล์บริสุทธิ์ทางการแพทย์ได้วิจัยและสรุปผลดังนี้
1.จากการทำวิจัยขององค์การอาหารและยาสหรัฐอเมริกา กับผู้ป่วยแผลเปิดจำนวน 3,600ราย พบว่าคลอโรฟิลล์ช่วยกระตุ้นให้มีการสร้างเซลล์ใหม่ให้เร็วขึ้น ทำให้แผลกายเร็วขึ้นเร็วกว่าปกติ 25%ขึ้นไปโดยรอยแผลเป็นลดลงกว่า 50%หรือมากกว่า
2.การวิจัยจากผู้ป่วย 1,227ราย รับรองว่าการใช้คลอโรฟิลล์เพียง 2สัปดาห์สามารถระงับกลิ่นอันไม่พึงประสงค์ได้ดี
3.ดร.เรดพาธและคณะ รายงานผลเป็นที่น่าพอใจในการใช้คลอโรฟิลล์รักษาผู้ป่วยจากโรคทางเดินหายใจ 1,000ราย
4.มหาวิทยาลัยโลโยร่า สหรัฐอเมริกา กลุ่มทันตแพทย์รักษาผู้ป่วยกว่า 1,700ราย พบว่าคลอโรฟิลล์สามารถยับยั้งการเจริญเติบโตของแบคทีเรียในช่องปากได้
5.ดร.เคปฮาร์ รายงานผลการใช้คลอโรฟิลล์รักษาผู้ป่วยโลหิตจาง และโรคเลือด พบว่าได้ผลดีในผู้ป่วยที่ขาดธาตุเหล็กและทองแดง
6.ทันตแพทย์โกลด์เบิร์ก ใช้คลอโรฟิลล์รักษาผู้ป่วย 300รายที่เหงือกเป็นหนอง เลือดออกตามไรฟันและฟันโยก ปรากฏว่าได้ผลดีมาก
7.ในโรงพยาบาลทหาร ดร.โบเวอร์ส ใช้คลอโรฟิลล์ทาแผล ปรากฏว่ากลิ่นเหม็นเน่าแผลลดลง และอาการอักเสบดีขึ้นจนกระทั่งหายเร็วขึ้น
8.ดร.มอร์แกน ใช้ขี้ผึ้งคลอโรฟิลล์รักษาแผลไฟไหม้ได้ดี
9.ดร.ฟอลล็อค ได้เปรียบเทียบการรักษาแผลกดทับ (Bedsore) ด้วยยาหลายชนิดพบว่า คลอโรฟิลล์ดีที่สุด
10.ดร.เบอร์กี้ รายงานว่าคลอโรฟิล์ช่วยรักษาโรคโลหิตจางได้หลายชนิด ทำให้หัวใจทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น ช่วยลดความดันโลหิตสูง กระตุ้นการทำงานของระบบทางเดินอาหารได้ดีขึ้น
12.ดร.แครนซ์ วิจัยพบว่าคลอโรฟิลล์บรรเทาอาการของโรคกระเพาะอาหารอักเสบได้ดี  และจากรายงานของดร.ซามูเอล ในคนไข้ 3,600ราย พบว่าทุกรายมีอาการดีและหายภายใน 12-22วัน
13.ค.ศ.1980มีรายงานในผู้ป่วยโรคตับอักเสบเรื้อรังจำนวน 34ราย โดยการฉีดคลอโรฟิลล์เข้าเส้นเลือดปรากฏว่าได้ผลดีมาก 23ราย  (67.65%)
14.ดร.โยชิดาและคณะ พบว่าคลอโรฟิลล์บรรเทาอาการโรคตับอ่อนอักเสบและมีรายงานวิจัยอีกหลายคณะในยี่ปุ่น ใช้คลอโรฟิลล์รักษาโรคตับอ่อนอักเสบ
15.ดร.เบอร์กี้ พิมพ์หนังสือชื่อ“Chlorophyll as a pharmaceutical”กล่าวถึงการใช้คลอโรฟิลล์ได้ผลดีในผู้ป่วย 112รายที่ป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูงและหลอดเลือดแข็งตัว
16.ดร.เอนเจโล ศึกษาคนไข้  500รายที่ป่วยด้วยโรคความดันสูง พบว่าคลอโรฟิลล์ช่วยลดความดันได้ดีและอาการทั่วไปดีขึ้น
และมีอีกหลายร้อยหลายพันงานวิจัยทั้งเมืองไทยและต่างประเทศที่คุณสามารถสืบค้นเพิ่มเติมข้อมูลได้
ในอดีตทางการแพทย์ได้ใช้คลอโรฟิลล์ชนิดที่ละลายน้ำ (Water Soluble Chlorophyll) รักษาผู้ป่วย  แต่การใช้ไม่เป็นที่แพร่หลายมากนัก เพราะต้นทุนการผลิตยังมีราคาแพงมาก  แต่ในปัจจุบันคลอโรฟิลล์บริสุทธิ์มีราคาถูกลงและใช้ในกลุ่มทั่วไปในกลุ่มแพทย์ธรรมชาติบำบัด
 

เอกสารอ้างอิง  (References)
1.Acheson, D.W. et al (1897). Diagnostic delay due to chlorophyll in oral rehydration solution. Lancet,1987 Jan 17. (MEDLINE)
2.Barnard.R.D. et al (1954). Hyparinic effected of cupridihydroporphyrins (Water-Soluble chlorophyllins).J. Amer. Pharm. Assoc.43, 110.
3.Carpenter, E.B. (1949). Clinical experiences with chlorophyll prepatarions. American Journal of Surgery. 1949:77(2):167-171.
4.Chernomorsky, S.A. and Segelman, A.B.(1998). Review Article: Biological activities of chlorophyll derivatives. New Jersey Medicine. 1988:85(8)669-673.
5.Chernomorsdy, S.A. (1988). Biological actives of chlorophyll derivatives. N.J.Med. 1988 Aug(MEDLINE)
6.Dashwood, R.H. et al(1991). Chemopreventive properties of Chlorophyll carcinogenenesis.1991:12(5):939-942
7.Duham, W.B.(1954). Differential inhibition of virus hemagglutination by chlorophyllin. Proc.Soc. Exptl. Biol. Med.,
8. EL-Nakeeb, M.A. and Yousef, R.T. (1974). Antimicrobial activity of Sodium  Copper chlorophyllin. Pharmazie, 29,48.
9.Fukuwa, K. et al (1973). Experimental studies on the gastric ulcer. I. Curative effects of various antiulcerous drug on experimental Acetic acid-included ulcer. Oyo Yakuri, 7,1329.
10.Hashinoto, S.(1962). Influence of chlorophyll on metabolism in Liver. Acta Med. Univ. Kagoshima. 4,1.
11.Jensen, B. (1984). The Healing Power of Chlorophyll. Bernard Jensen Enterprises, Escondido, California.
12.Kelentei, B. el al (1958). Influence of copper chlorophyllin on Experamental anemia. Acta Pharm. Hung., 28, 176.
13.Kirkwood. T. (1999). Time of  Our  Lives. Weidenfeld & Nicolson, London.
14.Koser, S.A. and Hodges, E,A.(1953). Effects of sodium copper chlorophyllin on growth and acid production of oral bacteria. J. Infections Diseases, 92, 10.
15.Maekawa, Y.(1959). The effect of chlorophyll on liver. II. Experiments on animals. Osaka Shiritsu Daigaku Igaku Zasshi,8, 1519.
16.Nakonoin, K. and Utsunomiya, M. (1959). Development of bilateral cortical necrosis of kindney in the rat with chlorophyllin. Acta Pathol. Japan., 9, 490.
17. Norimatsu, M. (1963). Effect of chlorophyllin on blood sugar. Nippon Seirigaku Zasshi, 25, 217.
18. Osawa, Y. (1958). Effect of chlorophyllin on proteolytic  enzyme. Botan Mag. (Tokyo) 71, 386.
19. Rudolph, T.M. (1957). Chlorophyll. De Souza Company, Beaumont, California.
20. Sakar, D. et al (1994). Chlorophyll and Chlorophyllin as modifiers of genotoxic effects. Mutation Research. 1994: 318: 239, 247.
21. Sato, M. et al (1980). Effect of sodium copper chlorophyllin on Iipid peroxidation. III. The antioxidatives of the commercial preparations of sodium copper chlorophyllin. IV. The antioxidative action of coper chlorines. Yakugaku Zasshi, 100, 941
22. Serling, M.E. (July 1950). Control of body and Breath Odors with chlogophyll fractions. Veternary Medecine, 155.
23. Serling, M.E. (April 1952). Clinical use of therapeutic  agents Containing Chlorophyll. Verterinary Medicine, Vol 45, 291..23.
24. Smith, L.W, (1944). Chlorophyll : An experimental study of its. Water-Soluble derivatives. Am.J. of Medical Science, 647.
25.Young,  R.W. et al (1980). Use of chlorophyllin in care of geriatric patients. Journal of the American Geriatrics Society. 1980:28(1):46-47.
26. ดร.สังสิทธิ์  ศรีสุคนธ์, พญ. ชุดา ศรีสุคนธ์. คลอโรฟิลล์บริสุทธิ์ อาหารอายุวัฒนะ.
27.นพ.บรรจบ ชุณหสวัสดิกุล. กินให้แกร่ง, สุขภาพทางเลือก  2.สำนักพิมพ์รวมทรรศน์ 2541
28.นพ.บรรจบ ชุณหสวัสดิกุล.สุขภาพสตรี นม มิตรแท้หรือศัตรูสุขภาพ, ธรรมชาติบำบัด วิถีสุขภาพแนวใหม่เล่ม9.สำนักพิมพ์รวมทรรศน์ 2540
29.นพ.บรรจบ ชุณหสวัสดิกุล.สุขภาพครอบครัวสบู่ฟองแตก, ธรรมชาติบำบัด วิถีสุขภาพแนวใหม่เล่ม13
30. นพ.วิสัย วงศ์สายปิ่น. สาหร่ายเซลล์เดียว  สารอาหารจากแสงตะวัน. สำนักพิมพ์รวมทรรศน์ 2536